ลักษณะการปกครองของไทยในสมัยสุโขทัยยุคแรก สภาพสังคมและการจัดระเบียบการบริหาร ราชการแผ่นดินเป็นไปอย่างเรียบง่ายการใช้อำนาจตุลาการเป็นไปในลักษณะการชำระความแบบพ่อปกครองลูก ในยุค สุโขทัยตอนปลายรูปแบบการปกครองได้พัฒนาขึ้นมาอย่างมีแบบแผนเพื่อให้สอดคล้องกับสภาพสังคมที่เริ่มใหญ่โตขึ้น โดยแบ่งส่วนราชการออกเป็น 4 กรม คือ เวียง วัง คลัง นา โดยมีเสนาบดีกรมวังเป็นผู้ชำระความแทนพระมหากษัตริย์ แต่อำนาจทางตุลาการอย่างเด็ดขาดขึ้นอยู่กับพระมหากษัตริย์ ต่อมาในสมัยกรุงศรี รูปแบบการชำระความได้ปรับปรุงอย่างเป็นแบบแผนมากขึ้น จนกระทั่งได้มีการจัดตั้งศาล ขึ้นเป็นครั้งแรก และเริ่มมีศาลในกรมอื่นๆตามมา ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์การจัดการศาลเริ่มมีความซับซ้อนมากขึ้นและเกิดปัญหาต่างๆตามมาจนทำให้ประเทศไทย ประสบวิกฤตทางการศาลในยุคพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีสาเหตุสำคัญดังนี้คือ |
![]() |
1 . ความไม่เหมาะสมของระบบการศาลเดิม |
จึงทำให้ประเทศไทยต้องปฏิรูประบบกฎหมายและการศาลไทยใหม่อย่างเร่งด่วน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ประกาศจัดตั้งกระทรวงยุติธรรมขึ้น เมื่อวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2434 (รศ. 110) มีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมศาลที่กระจัดกระจายตามกระทรวงต่างๆ เข้ามาไว้ในกระทรวงยุติธรรม ให้มีเสนาบดีเป็นประธาน เพื่อที่จะจัดวางรูปแบบศาลและกำหนดวิธีพิจารณาคดีขึ้นใหม่ โดยมีกรมพระสวัสดิวัฒนวิศิษฎ์เป็นเสนาบดีกระทรวงยุติธรรมคนแรก ได้ทรงวางระเบียบศาลตามแบบใหม่ ซึ่งเดิมตามประกาศจัดตั้งกระทรวงยุติธรรมมีศาลทั้งหมด 16 ศาล ให้รวมมาเป็นศาลสถิตย์ยุติธรรมให้เหลือเพียง 7 ศาล คือ
หรืออ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้
<
| ธันวาคม 2562 | >
|
อ. | จ. | อ. | พ. | พฤ. | ศ. | ส. |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 |
8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 |
15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 |
22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 |
29 | 30 | 31 | 1 | 2 | 3 | 4 |
17 ธันวาคม 2562 | 14.30 - 16.30 น.
ประชุมผู้บริหารกระทรวงยุติธรรมผอ.สกม.เข้าร่วมประชุมผู้บริหารกระทรวงยุติธรรม เวลา 14.30 น. ณ ห้องประชุมกระทรวงยุติธรรม 1 ชั้น 9 อาคารราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ ถ.แจ้งวัฒนะ กรุงเทพฯ *ขอเลื่อนการประชุม วันที่ 17 ม.ค.2560 (ยธ 0101/80 ลว 13 ม.ค.2560)